การทำ critical appraisal
เป็นการกระบวนการตรวจสอบการวิจัยอย่างมีระบบและด้วยความระมัดระวัง เพื่อพิจารณาว่างานวิจัยนั้นมีความน่าเชื่อถือ โดยมีหลักการทั่วไป ดังนี้
- มีการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องครอบคลุมทุกประเด็นที่ต้องการศึกษา
- มีการอธิบายข้อมูลพื้นฐานและเหตุผลอย่างเพียงพอสำหรับการทำการวิจัย
- กำหนดปัญหาชัดเจน
- วัตถุประสงค์การวิจัย สมมุติฐาน ชัดเจน เหมาะสม และสอดคล้องกับปัญหาการวิจัย
- รูปแบบการวิจัยเหมาะสม
- กลุ่มประชากรมีความเหมาะสม และมีขนาดตัวอย่างเพียงพอ
- เครื่องมือที่ใช้มีความเที่ยงตรงเพียงพอ
- วิธีการวิเคระห์ทางสถิติที่ใช้มีความเหมาะสม
- ผู้วิจัยเสนอผลสรุปที่สำคัญหรือไม่ และสรุปการค้นพบใหม่ดีกว่าเดิมอย่างไร
- ผู้เขียนมีการเปรียบเทียบกับการศึกษาที่ผ่านมา
เนื้อหาที่ควรศึกษาเพิ่มเติมมีดังนี้
1. Introduction to critical appraisal
2. Systematic reviews and meta analysis
3. Randomized controlled trials
4. Cohort studies
5. Case control studies
6. Cross sectional studies
7. Diagnostic studies
Critical Appraisal tools/checklists
• EQUATOR network: Enhancing the QUAlity and Transparency Of health Research
• CASP: Critical Appraisal Skills Programme
• EBM: Evidence based medicine
• CEBM: Centre for Evidence-Based Medicine
• JBI
• BETs: Best Bets Critical
• SIGN: Critical Appraisal Checklists