|
|
TPMT variants |
|
ห้องปฏิบัติการสาขาวิชาโลหิตวิทยาและอองโคโลยี |
|
1. การทดสอบ
: |
|
|
TPMT
variants |
2. ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ
(indication) : |
|
|
ตรวจหาความผิดปกติของยีน
Thiopurine S-methyltransferase
(TPMT) variants *2,*3A, *3B, *3C และ
*6 ที่มีความสัมพันธ์กับการสนองตอบต่อการได้รับยาในกลุ่ม
thiopurine เพื่อเป็นแนวทางในการดูแล
รักษา
ติดตามผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับยากลุ่มนี้ |
3. การเตรียมผู้ป่วย
( patient preparation ) : |
|
|
ไม่มี
|
4. สิ่งส่งตรวจ
( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ
( collection medium ) : |
|
|
เลือดปริมาณตั้งแต่
3-6 มิลลิตร
ใส่หลอดที่มีสารกันเลือดแข็ง
ชนิด EDTA |
5. การส่งสิ่งส่งตรวจและข้อควรระวัง
( handling ) : |
|
|
- อย่าให้เลือดที่ส่งตรวจ
clot - ควรนำส่งห้องปฏิบัติการทันที
หรือเก็บได้ไม่เกิน
1 สัปดาห์ที่
4°C หลังเก็บสิ่งส่งตรวจ |
6. วันและเวลาทำการตรวจ
(testing schedule) : |
|
|
สัปดาห์ละ
1 ครั้ง |
7. การประกันเวลาการทดสอบ
( TAT ) : |
|
|
นับจากห้องปฏิบัติการได้รับสิ่งส่งตรวจใช้เวลา
14 วันทำการ |
8. การรายงานผล
: |
|
|
รายงานผลเป็นการพบหรือไม่พบชนิดของ
variants ที่ทำการตรวจ
(หากไม่พบจะรายงานเป็น
TPMT*1/TPMT*1) |
9. ค่าตรวจ
(charge) : |
|
|
ภายในโรงพยาบาลศิริราช
ค่าตรวจ 1,100 บาท/
หน่วยงานอื่นของรัฐ
ค่าตรวจ 1,210 บาท/
หน่วยงานภาคเอกชน
ค่าตรวจ 1,320 บาท
หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงตามประกาศของคณะฯ |
10. วิธีการวิเคราะห์
(methodology) : |
|
|
ตรวจ DNA ด้วยวิธี
PCR-RFLP และ PCR-ARMS |
11. สิ่งรบกวนต่อการวิเคราะห์
( interference ) : |
|
|
- สิ่งส่งตรวจมีปริมาณไม่เพียงพอ
- สิ่งส่งตรวจเกิดการ
clot - สิ่งส่งตรวจที่ใช้สารกันเลือดแข็งเป็น
heparin |
12. ระยะเวลาที่สามารถขอตรวจเพิ่มได้
(time limit for requesting additional test) : |
|
|
ภายใน
1 เดือน |
13. อื่น
ๆ ( comment ) : |
|
|
ไม่มี |