ผลลัพธ์ของการฝึกอบรม/หลักสูตรของภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
แพทย์ที่จบกำรฝึกอบรมเป็นแพทย์เฉพำะทำงสำขำจิตเวชศำสตร์จำกภำควิชำจิตเวชศำสตร์ จะมีคุณสมบัติและควำมรู้ควำมสำมำรถขั้นต่ำตำมสมรรถนะหลักทั้ง 6 ด้ำน โดยเมื่อจบหลักสูตรกำรฝึกอบรมแพทย์จะต้องสำมำรถปฏิบัติงำนได้ด้วยตนเองอย่ำงเต็มตัวโดยไม่ต้องมีกำรกำกับดูแล
1) การดูแลรักษาผู้ป่วย (Patient Care)
1.1 มีทักษะในกำรสัมภำษณ์ทำงจิตเวช กำรตรวจร่ำงกำย กำรตรวจสภำพจิต กำรใช้แบบประเมินที่สำคัญ และกำรรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมำคิดวิเครำะห์อย่ำงเป็นเหตุเป็นผลเพื่อนำไปสู่กำรตัดสินใจให้กำรดูแลรักษำผู้ป่วยอย่ำงเหมำะสม
1.2 วินิจฉัยบำบัดรักษำภำวะผิดปกติทำงจิตเวชศำสตร์ที่พบโดยทั่วไปในประเทศไทยได้อย่ำงถูกต้องและเหมำะสม
1.3 บันทึกรำยงำนผู้ป่วยได้อย่ำงสมบูรณ์และสม่ำเสมอ
1.4 ป้องกันโรคและสร้ำงเสริมสุขภำพจิต
2) ความรู้ความเชี่ยวชาญและความสามารถในการนาไปใช้แก้ปัญหาของผู้ป่วยและสังคมรอบด้าน (Medical Knowledge and Skills)
2.1 มีควำมรู้พื้นฐำนด้ำนสุขภำพจิต จิตวิทยำ วิทยำศำสตร์กำรแพทย์และสังคมที่จำเป็นต่อกำรปฏิบัติงำนด้ำนจิตเวช
2.2 มีควำมรู้ควำมสำมำรถในวิชำชีพและเชี่ยวชำญในสำขำจิตเวชศำสตร์
3) การเรียนรู้ จากการปฏิบัติและการพัฒนาตนเอง (Practice-Based Learning and Improvement)
3.1 วิพำกษ์บทควำม และดำเนินกำรวิจัยทำงกำรแพทย์และสำธำรณสุขได้
3.2 มีควำมรู้ในกำรคิดวิเครำะห์อย่ำงมีวิจำรณญำณทำงกำรแพทย์และกำรแพทย์เชิงประจักษ์
3.3 เรียนรู้และเสริมสร้ำงประสบกำรณ์ทำงวิชำชีพได้ด้วยตนเองจำกกำรฝึกปฏิบัติ
3.4 มีเจตนำรมณ์และเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต เข้ำร่วมในกิจกรรมกำรศึกษำต่อเนื่อง (CME) หรือ กำรพัฒนำวิชำชีพอย่ำงต่อเนื่อง (CPD)
4) ทักษะการมีปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร (Interpersonal and Communication Skills)
4.1 นำเสนอข้อมูลผู้ป่วยและอภิปรำยปัญหำอย่ำงมีประสิทธิภำพ
4.2 ถ่ำยทอดควำมรู้และทักษะเป็นที่ปรึกษำ ให้คำแนะนำ แก่แพทย์และ /หรือนักศึกษำแพทย์และ/หรือบุคลำกรทำงกำรแพทย์
4.3 สื่อสำรให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญำติได้อย่ำงถูกต้องและมีประสิทธิภำพ โดยมีเมตตำ เคำรพกำรตัดสินใจและศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์
4.4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีทำงำนกับผู้ร่วมงำนทุกระดับอย่ำงมีประสิทธิภำพ
4.5 สำมำรถปฏิบัติงำนแบบสหวิชำชีพหรือเป็นทีมได้
5) ความรู้ ความสามารถด้านอาชีพ (Professionalism)
5.1 มีคุณธรรมจริยธรรมและเจตคติอันดีต่อผู้ป่วย ญำติ ผู้ร่วมงำน เพื่อนร่วมวิชำชีพและชุมชน
5.2 มีควำมสำมำรถในกำรสำรวจจิตใจ พัฒนำตัวเอง และสำมำรถบริหำรจัดกำรสถำนกำรณ์ที่เกี่ยวข้องได้เหมำะสม
5.3 มีควำมสนใจใฝ่รู้และสำมำรถพัฒนำไปสู่ควำมเป็นผู้เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต (Continuous professional development)
5.4 มีควำมรับผิดชอบต่องำนที่ได้รับมอบหมำย
5.5 คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม
5.6 มีควำมสำมำรถในกำรทำงำนแบบมืออำชีพ
6) การปฏิบัติงานให้เข้ากับระบบ (System-Based Practice)
6.1 มีควำมรู้และเข้ำใจเกี่ยวกับระบบสุขภำพ บริบททำงสังคม และวัฒนธรรมของประเทศ
6.2 มีควำมรู้และมีส่วนร่วมในระบบพัฒนำคุณภำพกำรดูแลรักษำผู้ป่วย
6.3 ใช้ทรัพยำกรสุขภำพอย่ำงเหมำะสม (Cost consciousness medicine) และสำมำรถปรับเปลี่ยนกำรดูแลรักษำผู้ป่วยให้เข้ำกับบริบทของกำรบริกำรสำธำรณสุขได้ตำมมำตรฐำนวิชำชีพ
6.แผนการฝึกอบรม/หลักสูตร
6.1 วิธีการให้การฝึกอบรมหลักสูตรมีวัตถุประสงค์การเรียนรู้แยกเป็นระดับตามชั้นปี ดังนี้
แนวทางการจัดการฝึกอบรมเพื่อให้บรรลุ
1.สมรรถนะในการดูแลผู้ป่วย (Patient Care)
แพทย์ประจาบ้านปีที่ 1 เรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลทางจิตเวชศาสตร์ระดับไม่ซับซ้อน ได้แก่
- ควำมรู้พื้นฐำนทำง Psychological science ในโรคที่พบบ่อย
- กำรสัมภำษณ์ทำงจิตเวชพื้นฐำน (Basic technique of interview) และ กำรตรวจสภำพจิต (Mental status examination) เพื่อกำรวินิจฉัย
- กำรดูแลโรคหรือภำวะทำงจิตเวชที่ไม่ซับซ้อน และ/หรือพบบ่อย
- Emergency management เช่น aggression, suicide
- Basic psychological support
แพทย์ประจาบ้านปีที่ 2,3 เรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลทางจิตเวชศาสตร์ระดับซับซ้อน ได้แก่
- กำรสัมภำษณ์ทำงจิตเวช (Psychiatric interviewing) และ กำรตรวจสภำพจิต (Mental status
examination) เพื่อนำไปสู่กำรวินิจฉัย ควำมเข้ำใจสำเหตุกำรเกิดอำกำรและวำงแผนกำรรักษำได้
- กำรดูแลรักษำโรคหรือภำวะทำงจิตเวชที่ซับซ้อนและ/หรือพบน้อย
- กำรดูแลรักษำโรคหรือภำวะทำงจิตเวชในบริบทต่ำง ๆ เช่น ในกำรรับปรึกษำจำกแผนกต่ำงๆในโรงพยำบำลทั่วไป (Consultation), ในโรงพยำบำลจิตเวช
- Psychological intervention ในประเด็นที่สำคัญได้
- กำรฝึกปฏิบัติงำนในสถำนบำบัดผู้ป่วยจิตเวชเฉพำะกรณี เช่น จิตเวชศำสตร์ด้ำนสำรเสพติด นิติจิตเวช
เด็กวัยรุ่น ผู้สูงอำยุ หรือ กำรนอนหลับ
|